วันอังคารที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2553

1. ชื่อเรื่อง (Title) วิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทย (จังหวัดสุราษฎร์ธานี)

2. ข้อมูลเบื้องต้น (Background) / S W O T สำนักงานประชาสัมพันธ์เขต (จังหวัดสุราษฎร์ธานี) เป็น กองประชาสัมพันธ์ เขตสุราษฎร์ธานี ขึ้นอยู่ในส่วนการวิทยุกระจายเสียงและโทรทัศน์ จึงมีการเปลี่ยนชื่อสถานีวิทยุเป็น สถานีวิทยุกระจายเสียงกองประชาสัมพันธ์เขตสุราษฎร์ธานี มีชื่อย่อว่าสถานีวิทยุกระจายเสียง ปชส. สุราษฎร์ธานีที่ทำการประชาสัมพันธ์ภาคจังหวัดสุราษฎร์ธานี ถ.ดอนนก ต.มะขามเตี้ย อ.เมือง จ.สุราษฎร์ธานี มีชื่อเรียกว่า สถานีวิทยุกระจายเสียงประชาสัมพันธ์ภาคใต้เนื่องจากประชาสัมพันธ์ภาคจังหวัดสุราษฎร์ธานี ซึ่งเป็นที่ตั้งหน่วยงานหลักขณะนั้นถูกเรียกว่า สำนักงานประชาสัมพันธ์ภาคใต้ และสถานีวิทยุแห่งนี้เองนับเป็นเครื่องมือสื่อสารของประชาสัมพันธ์ภาค ที่ถูกใช้ถ่ายทอดข่าวสารจากภาครัฐไปยังประชาชนผ่านเครื่องส่งวิทยุกระจาย เสียง ระบบ เอ.เอ็ม. ขนาดกำลังส่ง 1 กิโลวัตต์ ยี่ห้อ คอนลิน เสาอากาศสูง 30 เมตร
S= Strength
-เป็นรัฐวิสาหกิจในรูปบริษัทมหาชนจำกัด และเป็นกิจการสื่อสารมวลชน ภายใต้การกำกับของรัฐบาลไทย โดยสำนักนายกรัฐมนตรีซึ่งแตกต่างจากองกรณือื่นๆ คือส่วนใหญ่ เป็นองค์กรเอกชน

-กิจการวิทยุโทรทัศน์ แพร่ภาพออกอากาศตลอด 24 ชั่วโมง ด้วยระบบสี 625 เส้น จากสถานีแม่ข่ายในกรุงเทพมหานคร ไปยังสถานีเครือข่ายในภูมิภาคจำนวน 35 สถานี มีพื้นที่ให้บริการครอบคลุมเกือบทั่วประเทศไทย

-มีความมั่นคงมากว่า 59 ปี

-มีความน่าเชื่อถือ

W = Weakness
-ช่องฟรี TV , UBC ,CABLE TV
O = Opportunity

- มีประชนชนโดยส่วนใหญ่ยังคงรับชม และติดตามข่าวสาร และสาระความบันเทิงของกิจการสื่อสารมวลชนของทางบริษัท อสมท จำกัด (มหาชน)ยังเหนี่ยวแน่นอยู่

T = Threat
-การมีสื่อใหม่ เข้ามามีบทบาทมากขึ้น
-ส่วนแบ่งทางการตลาด ยังคงมีมากอยู่


3. วัตถุประสงค์ (Objective) "สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยจังหวัดสุราษฎร์ธานี จะเป็นผู้นำด้านวิทยุกระจายเสียงในจังหวัดสุราษฎร์ธานี เน้น การให้บริการสาธารณะแก่ประชาชนให้มีโอกาสรับรู้ เข้าใจ สามารถใช้ข้อมูลข่าวสารของรัฐเพื่อเป็นประโยชน์ในด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิต เสริมสร้าง ความเข้มแข็งของชุมชน และเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการ พัฒนาท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นให้เกิดความพึงพอใจสูงสุด"
4. กลุ่มเป้าหมายหลัก (Main Target) ด้านกายภาพ ประชาชนทั่วไปที่ฟังวิทยุ

ด้านกายภาพ- ประชาชนชาวสุราษฎร์ธานี


ด้านจินตภาพ/-เป็นบุคคลที่ชอบรับฟังข่าวสารและชอบฟังวิทยุ



5. แนวความคิด (Concept) ใกล้ไกลก็เหมือนอยู่ใกล้กัน


6. เหตุผลสนับสนุนแนวคิด (Support)


1. ดำเนินงานประชาสัมพันธ์โดยใช้สื่อวิทยุกระจายเสียง เพื่อการพัฒนาท้องถิ่นด้าน
ข้อมูลข่าวสาร

2. ให้คำปรึกษา และคำแนะนำด้านการประชาสัมพันธ์กับหน่วยงานต่าง ๆ ในท้องถิ่น

3. เป็นสื่อกลางสร้างความเข้าใจอันดีระหว่างภาครัฐกับประชาชน

4. เปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดรายการ

5. ประชาสัมพันธ์ โครงการพระราชดำริ นโยบายของรัฐ และโครงการเฉพาะกิจ

7. อารมณ์และความรู้สึก (Mood & Tone) สนุก




ร่าเริง




ชอบฟังเพลง




8. ผลตอบสนอง (Desired response) เป็นการตอบรับที่น่าพอใจ

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น